แคล-ที ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพื่อสุขภาพกระดูกและข้อของคนที่คุณรัก

ข้อมูลความรู้

ภาวะกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

อ่านหัวข้อที่สนใจ

โรคกระดูกพรุน และหักง่ายในผู้สูงอายุ

ในปัจจุบันเป็นสังคมผู้สูงอายุ มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุทั่วโลก ประมาณ 200 ล้านคน จำนวนประชากรผู้สูงอายุในไทยมีประมาณ 10 ล้านคน ( ข้อมูลจากสถิติสำนักงานแห่งชาติ ปีพ.ศ.2557 ) เป็นผู้ชาย 4 ล้านกว่าคน เป็นผู้หญิงจำนวน 5 ล้านกว่าคน ผู้สูงอายุจำนวน 1 ใน 3 ประสบปัญหาภาวะกระดูกพรุน ใช้ค่ารักษาประมาณ 1-3 แสนบาทต่อคนต่อปี แต่ผลการรักษา จะไม่ได้หายหรือฟื้นฟูสภาพคงเดิมได้ทันที ต้องใช้เวลาหลายปีในการรักษา ที่จะทำให้กระดูกแข็งแรงและเดินได้ดีคงเดิม

 

ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นภาวะกระดูกพรุนมากกว่า25 ล้านคน ในประเทศไทยพบผู้ป่วยมากกว่า 1 ล้านคนแล้ว เนื่องจากรับประทานแคลเซียมน้อยกว่าวันละ 400 มิลลิกรัม

โรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่ทุกคนมองข้ามและละเลย “ โรคกระดูกพรุน” เป็นไปอย่างช้าๆ โดยที่ไม่สามารถรู้ตัวได้เลย เพราะโรคนี้ไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ออกมา เมื่อกระดูกเสื่อม ทรุด ยุบ หักแล้วจะเจ็บปวดมาก ในปัจจุบันการใช้ชีวิตที่เร่งรีบ นั่งจ้องหน้าคอมเป็นเวลานานๆ ยิ่งทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้มากขึ้น

 

อาการที่พบเจอ

ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักจะพบเจอกับอาการเจ็บปวดตามข้อกระดูกเวลาเคลื่อนไหวร่างกาย ถ้ามีโรคกระดูกพรุนจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกหักเนื่องจากมวลกระดูกมีความหนาแน่นน้อยลง ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักจะพบเจอกับอาการเจ็บปวดตามข้อกระดูกเวลาเคลื่อนไหวร่างกาย ถ้ามีโรคกระดูกพรุนจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกหักเนื่องจากมวลกระดูกมีความหนาแน่นน้อยลง

การเดินลื่นหกล้มแม้จะประคองตัวได้โดยหัวไม่ฟาดพื้นก็อาจเกิดกระดูกข้อมือหักจากการใช้มือยันตัวไว้ด้วยความที่เนื้อกระดูกบาง กระดูกข้อมือจึงไม่สามารถรับน้ำหนักตัวได้เต็มที่กระดูกข้อมือจึงหักเมื่อกระดูกข้อมือหักก็ใช้มือข้างนั้นหยิบจับอะไรไม่ได้ในระหว่างที่ต้องเข้าเฝือก

รูปภาพกระดูกแขนหัก

 

หากมีก้นกระแทกพื้นจาก ตกจากที่สูง ทำให้กระดูกข้อสะโพกแตกหักแล้วเดินไม่ได้ในระหว่างการรักษา บางรายอาจต้องเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแทน ทำให้ต้องนอนติดเตียงนานๆซึ่งอาจเกิดแผลกดทับ ปวดทรมานหรือโรคอื่นๆ ตามมาได้ หากไม่ได้รับการดูแลที่ดีพอ และอัตราการเสียชีวิตของคนแก่จากแผลกดทับสูงถึง 17 % หลังข้อสะโพกหัก 1 ปื ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลให้เสียความมั่นใจ และส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก

รูปภาพกระดูกสันหลังหัก กระดูกสันหลังเสื่อม หักและยุบเดินไม่ได้

 

สำหรับผู้สูงอายุนั้น มีความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด เพราะด้วยร่างกายที่ไม่แข็งแรง การมองเห็นที่อาจไม่ชัดเจนจากตาต้อกระจก ต้อหิน เส้นประสาทตาเสื่อม อุบัติเหตุที่พบบ่อยคือการหกล้ม อาจมองว่าเป็นเรื่องปกติไม่ร้ายแรง แต่สำหรับผู้สูงอายุนั้น การเกิดอุบัติเหตุมีความอันตรายมาก สามารถทำให้เกิดกระดูกหัก ความพิการ ได้โดยง่าย

บทสรุป

ผู้สูงอายุที่ได้เปรียบคือผู้ที่ดูแลตัวเองดี และเตรียมพร้อมจากการที่ตระหนักถึงเรื่องโรคกระดูกพรุน ทราบถึงการสลายของมวลกระดูกที่เริ่มเมื่ออายุประมาณ 50 ปีขึ้นไป และหาตัวช่วยดีๆ สำหรับคนแก่คนชรา ด้วยการรับประทานแคลเซียมให้พอเพียงในแต่ละวัน นั่นคือ รับประทานแคลเซียมวันละ 1,000 มิลลิกรัม ทั้งนี้ผู้หญิงเมื่อถึงวัยหมดประจำเดือนหรืออายุ 50 ปีขึ้นไป ควรรับประทานแคลเซียมวันละ 1,500 มิลลิกรัม

ผู้เขียนบทความ :

บทความแนะนำ

แคลเซียมบำรุงกระดูก

ดูแลกระดูกให้แข็งแรง เสริมด้วยแคลเซียมข้าวโพดบำรุงกระดูก

มีภาวะโรคกระดูกพรุน เนื่องจากขาดแคลเซียมแร่ธาตุสำคัญ ช่วยดูแลกระดูกและฟันให้แข็งแรง ทานเสริมด้วยแคลเซียมบำรุงกระดูก แคลเซียมจากข้าวโพด หรือแคลเซียม แอล-ทรีโอเนต

อ่านเพิ่มเติม »

เช็คให้ไว ข้อเข่า ของเราเสื่อมรึยัง ? รีบเช็คก่อนเข่าเสื่อมไม่รู้ตัว

จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อเข่าเริ่มเสื่อมแล้ว มาเช็คดูอาการต่าง ๆ ดูสาเหตุที่ทำให้เกิด หรือสัญญาณเตือน ของข้อเข่าเสื่อม ติดตามความรู้การดูแลสุขภาพกับคุณหมอพิเชษฐ์

อ่านเพิ่มเติม »

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต เป็นแคลเซียมที่ดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ดีที่สุด จึงมีประโยชน์มากกว่าแคลเซียมในรูปแบบอื่น ๆ หากใครคิดจะทานแคลเซียมเสริม เราขอแนะนำผลิตภัณฑ์แคล-ที

อ่านเพิ่มเติม »
ประโยชน์ของแคลเซียม

ประโยชน์ของแคลเซียม คืออะไร ? สำคัญต่อร่างกายมาก แค่ไหน ?

แคลเซียม แร่ธาตุสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต แคลเซียมเป็นแร่ธาตุที่มีปริมาณมากที่สุดในร่างกาย ซึ่ง 98% ของแคลเซียมอยู่ในกระดูกและฟัน

อ่านเพิ่มเติม »

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (แคลเซียมข้าวโพด) มีประโยชน์อย่างไรบ้าง

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต มีประโยชน์อย่างไร ทำไมถึงควรบริโภค แคลเซียมสำหรับบำรุงกระดูก นั้นมีด้วยกันหลายชนิด เราจึงขอแนะนำประเภทของแคลเซียมที่ เสริมแล้วดีต่อร่างกาย

อ่านเพิ่มเติม »
แคลเซียมบำรุงข้อเข่า วิธีดูแลอาการปวดเข่า

แคลเซียมบำรุงข้อเข่า ดูแลปัญหาปวดข้อเข่าเบื้องต้นได้จริง?

ใช้งานข้อเข่าหนักเกินไป ปวดข้อเข่าจนกระทบกับชีวิตประจำวัน ปรึกษาแพทย์ด่วน คุณหมอพิเชษฐ์ เปิดวิธีดูแลข้อเข่า เบื้องต้น หรือเลือกเสริมด้วยแคลเซียมบำรุงข้อเข่า

อ่านเพิ่มเติม »

หมวดหมู่บทความ

บทความล่าสุด

สูงวัยอย่างสุขภาพดี สูงวัยเลือกทานอย่างไรให้กระดูกแข็งแรง?

กระดูกพรุน ข้อเสื่อม มักพบในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นวัยที่มีการเสื่อมถอยของร่างกาย ดังนั้นการรับประทานอาหารที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูกจึงเป็นสิ่งสำคัญ

อ่านเพิ่มเติม »

การเลือกอาหารที่เหมาะสมสำหรับผู้หญิงวัยทอง ควรเลือกอย่างไร

เมื่อผู้หญิงเข้าสู่ช่วงวัยทอง การดูแลตัวเองให้มีสุขภาพดีถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก โดยหนึ่งในการดูแลที่ดีที่สุด คือการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ถูกวิธี ดีต่อร่างกาย

อ่านเพิ่มเติม »

สูงวัยอย่างสุขภาพดี สูงวัยเลือกทานอย่างไรให้กระดูกแข็งแรง?

กระดูกพรุน ข้อเสื่อม มักพบในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นวัยที่มีการเสื่อมถอยของร่างกาย ดังนั้นการรับประทานอาหารที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูกจึงเป็นสิ่งสำคัญ

การเลือกอาหารที่เหมาะสมสำหรับผู้หญิงวัยทอง ควรเลือกอย่างไร

เมื่อผู้หญิงเข้าสู่ช่วงวัยทอง การดูแลตัวเองให้มีสุขภาพดีถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก โดยหนึ่งในการดูแลที่ดีที่สุด คือการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ถูกวิธี ดีต่อร่างกาย

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต เป็นแคลเซียมที่ดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ดีที่สุด จึงมีประโยชน์มากกว่าแคลเซียมในรูปแบบอื่น ๆ หากใครคิดจะทานแคลเซียมเสริม เราขอแนะนำผลิตภัณฑ์แคล-ที

อาการมือชา เท้าชา เกิดจากสาเหตุใด? มีวิธีดูแลอาการอย่างไร?

มีอาการ มือชา เท้าชา เป็นบ่อย เป็นๆ หายๆ เกิดมาจากสาเหตุใด เกิดความผิดปกติอะไรกับร่างกายหรือไม่ อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคที่รุนแรงได้ พร้อมมีวิธีดูแลอาการอย่างไร

รู้ทันอาการวัยทอง วัยทองคืออะไร อาการแบบไหนเข้าข่ายวัยทอง

วัยทอง ภาวะที่ร่างกายผลิตฮอร์โมนเพศได้น้อยลง แบ่งเป็น 3 ระยะ เมื่อประจำเดือนขาดหายเป็นเวลา 1 ปีจะถือว่าเข้าสู่วัยทองอย่างสมบูรณ์ ส่งผลให้เกิดอาการวัยทองต่าง ๆ

ผลิตภัณฑ์แคล-ที

สั่งซื้อ Cal-t ได้แล้ววันนี้ที่